วันอาทิตย์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2558

** คลิกที่ชื่อเรื่องวิจัยเพื่อดูเล่มจริง**



( Classroom action research to develop science process skills of preschool children. Ban San Pa Sak district, Chiang Mai.)

ชื่อผู้วิจัย : กชพรรณ บุญจา

เสนอ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรปริญญาศึกษามหาบัณฑิต   สาขาวิชาวิจัยและสถิติการศึกษา  
บัณฑิตวิทยาลัยมหาลัยเชียงใหม่   กันยายน 2555

ความเป็นมาและความสำคัญ
ปัญหาสังคมโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลมาจากความสามารถทางสติปัญญาของมนุษย์ทำให้วิทยากันได้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้นสร้างความสะดวกสบายให้กับมนุษย์ในขณะเดียวกันผู้ใช้บริการทางวิทยาศาสตร์และทละยี่คนมีความสามารถในการคิดรู้จักหาแนวทางในการแสวงหาความรู้มีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงรู้จักเลือกรับปรับเปลี่ยนสิ่งต่าง ๆ ให้เหมาะสมและแก้ไขปัญหาด้วยตนเองโดยเฉพาะปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันซึ่งคุณรักษาต่าง ๆ ดังกล่าวควรได้รับการปลูกฝังฝึกฝนตั้งแต่เด็กประถมวัยซึ่งเป็นที่ยอมรับเป็นวัยแห่งการว่างรากฐานของการพัฒนาๆทุกๆด้วน



สิ่งที่สนใจศึกษา
ในการศึกษาวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์ผู้วิจัยได้กำหนดนวัตกรรมและผลที่เกิดกับผู้เรียนดังนี้
1. นวัตกรรม  คือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนที่ได้ใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์เรียนรู้โครงการ
2. ผลที่เกิดกับคูร คือ การใช้ควรการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการ
3. ผลที่เกิดกับผู้เรียน คือ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


วัตถุประสงค์ของการศึกษา
 1. เพื่อศึกษาผลกาใช้วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการเพื่อนำไปสู่การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยปีที่ 2 / 1 โรงเรียนบ้านสันปราสาทอำเภอหางดงจังหวัดเชียงใหม่
2. ศึกษาทักษะการทำวิทยาศาสตร์ของเด็กประถมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการ

ขอบเขตการวิจัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 / 1 โรงเรียนสันป่าสัก  อำเภอ หางดง    จังหวัดเชียงใหม่  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 21 คน
ระยะเวลา
ระยะเวลาในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 8 สัปดาห์ตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม
ถึงวันที่ 9 มีนาคมผู้สละ 2555

นิยามศัพท์เฉพาะ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน   หมายถึง การวิจัยเด้อครูผู้สอนที่เกิดขึ้นพร้อมพร้อมกับการจัดประสบการณ์เรียนรู้ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยครูผู้สอนเป็นผู้วิจัย

ผลการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการ   หมายถึง  ผลการพัฒนาในด้านการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูตามขั้นตอนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนที่เกิดกับตัวคูรในการธนาตนเองด้านการจัดประสบการณ์เรียนรู้

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงาน  หมายถึง    การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ศึกษาค้นคว้าเรียนรู้จากการกระทำตามความสนใจของตนเองลุ่มลึกเลงที่ความสนใจของเด็กเป็นหลักมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์มีการวางแผนร่วมกันได้ฝึกสังเกตค้นคว้าทดลองปฏิบัติจากแหล่งเรียนรู้ที่รักหลายเพื่อคิดค้นหาคำตอบเรื่องที่สงสัย

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถคิดหาเหตุผลแสวงหาความรู้และแก้ไขปัญหาได้ตามไว้ของเด็กการวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นเฉพาะด้านทักษะการสังเกตทักษะการจำแนกประเภททักษะการแสดงปริมาณทักษะการพยากรณ์และทักษะการสื่อความหมายข้อมูลซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. ทักษะการสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันได้แก่ตาหูจมูกลิ้และกายสัมผัสเข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลของสิ่งนั้นนั้น

2. ทักษะการจำแนกประเภท หมายถึง ความสามารถในการจัดแสดงสิ่งของหรือวัตถุออกเป็นหมวดหมู่โดยการจัดแบ่งเช่นรูปร่าง สี ขนาดเป็นประโยชน์การใช้เป็นต้น

3. ทักษะการแสดงปริมาณ หมายถึง ความสามารถในการนับจานเข้าใจจำนวนการเปรียบเทียบการจัดลำดับและการวัดเพื่อบอกปริมาณของวัตถุ

 4. ทักษะการพยากรณ์ หมายถึง ความสามารถในการทำนายหรือคาดเดาคำตอบล่วงหน้าโดยอาศัยข้อมูลจากการสังเกตหรือข้อมูลที่ได้รับจากการจัดประสบการณ์ที่ทำซ้ำๆทักษะการสื่อความหมายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลที่สังเกตการจัดประเภทการแสดงปริมาณมาจัดการกระทำใหม่โดยมุ่งสื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลชุดนั้นดีขึ้นซึ่งอาจจะกระทำในรูปแบบกราฟตารางแผนผังรูปภาพหรือคำพูด

เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชายหญิงอายุ 5 ถึง 6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 / 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554  โรงเรียนบ้านสันป่าสัก อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 4


ประโยชน์ที่ได้รับจากกันศึกษา
 1. เป็นแนวทางสำหรับคู่ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทิศเต็มตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน
 2. เพื่อนำความรู้ขนาดการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนไปพัฒนาตนเองพัฒนาผู้เรียนให้สามารถจะประสบการณ์อย่างมีประสิทธิภาพได้ด้วยการเรียนรู้อื่นต่อไป
 3. เพื่อให้ครูผู้สอนในระดับประถมวัยได้นำผลจากการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนครั้งนี้ไปเป็นแนวทางการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุงสภาพการเรียนการสอนพัฒนาเด็กในด้านอื่น ๆ ต่อไป

สรุปผลการวิจัย
ทักษะการสังเกต
ผลการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไว้วัดทักษะการสังเกตที่เป็นข้อมูลเชิงปริมานเด็กประถมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการสังเกตหลังจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 89.76 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือร้อยละ 75
ทักษะการจำแนก
ผลการวัดกระบวนการทักษะวิทยาศาสตร์ด้วยวัดทักษะการจำแนกเป็นข้อมูลเชิงปริมาณพบว่าเด็กปฐมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการจำแนกหลังจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 98.60 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือร้อยละ 75
ทักษะการแสดงปริมาณ
ผลการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยเชิงปริมานวัดทักษะการแสดงปริมาณพบว่าเด็กปฐมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการแสดงปริมาณหลังจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 89.00 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 75
 ทักษะการสื่อความหมาย
ผลการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์วัดทักษะการสื่อความหมายพบว่าเด็กปฐมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการสื่ความหมายหลังจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 3.81 สูงกว่าเกณฑ์ที่คไว้คือร้อยละ 75
ทักษะการพยากรณ์

เป็นการฝึกให้เด็กคาดเดาคำตอบจากสถานการณ์หรือการทดลองเด็กส่วนใหญ่สามารถตั้งคำถามเพื่อคาดเดาคำตอบได้และสามารถคาดเดาคำตอบได้อย่างมีเหตุผลผล การวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยวัดทักษะการพยากรณ์พบว่าเด็กปฐมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการพยากรณ์หลังจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 94.29 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือร้อยละ 75



ภาพภนวก




























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น