บันทึกอนุทินครั้งที่ 10
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(science experiences Management for
Early childhood)
อาจารย์ผู้สอน อ. จินตนา
สุขสำราญ
วัน-เดือน-ปี 20-10-2558
เรียนครั้งที่ 10 เวลาเรียน 13.30.- 17.30 น.
ความรู้ ( Knowledge )
นำเสนอบทความ
เลขที่ 11 เรื่อง
กิจกรรมที่ส่งเสริมทกษะทางวิทยาสาสตร์ในเด็กปฐมวัย
เลขที่ 12 เรื่อง เรียนรู้ อยู่รอด
นำเสนอของเล่น 3 ชิ้น
1. ของเล่นเด็กที่สามารถทำเองได้
= โยกเย่กผีเสื้อ
2. ของเล่นเข้ามุมประสบการณ์
= โรงละครเงา
3. ของเล่นที่ทำการทดลอง =
เรื่องอาหารของผีเสืัอ
ของเล่นเด็กที่สามารถทำเองได้
ชื่อของเล่น โยกเย่กผีเสื้อ
อุปกรณ์
1.ไม้เสียบลูกชิ้น
2.ฟิวเจอร์บอร์ด
3.กระดาษเปล่า
4.สีไม้
5.ดินน้ำมัน
6.กาวสองหน้า
วิธีทำ
1. นำฟิวเจอร์บอร์ดตัดรูปดอกไม้ขนาดใหญ่ 1 ชิ้นขนาดเล็ก 1 ชิ้น
2 .นำไม้เสียบลูกชิ้นเสียบตรงกลางดอกไม้ดอกเล็กโดยให้ฟิวเจอร์บอร์ดขนาดเล็กให้อยู่บนสุดของไม้
3. นำไม้ที่เสียบดอกเล็กแล้วมาเสียบดอกใหญ่ให้อยู่กลางไม้ลูกชิ้น
4. นำไม้เสียบลูกชิ้นอีก 2 อันเสียบด้านข้างของดอกไม้ดอกใหญ่
ให้มีขนาดความกว้างทั้งสองข้างเท่ากัน
5. นำดินน้ำมันมาแบ่งเป็น 2 ก้อนทำให้น้ำมันทั้งสองมีน้ำหนักที่เท่ากันแล้วเสียบดินน้ำมันไว้ที่ปลายไม้ลูกชิ้นท้งสองข้าง
6. นำกระดาษสีขาวมาวาดเป็นรูปผีเสื้อและตกแต่งให้สวยงามติดลมบนดอกไม้
วิธีเล่น
ตั้งผีเสื้อโยกเย่กไว้ส่วนใดของร่างกายก็ได้ผีเสื้อโยกเย่กจะไม่หล่น
หลักการทางวิทยาศาสตร์
จุดศูนย์ถ่วง คือจุดที่เหมือนตำแหน่งที่รวมของน้ำหนักของวัตถุทั้งก้อน
ของเล่นที่เข้ามุม
ชื่อของเล่น
โรงละครเงา
อุปกรณ์
1 กล่องลัง
2 กระดาษแข็งสีขาว
3 กระดาษสี
4 ดินสอสี
6 เชือกเส้นเล็ก
7 ไฟฉาย
วิธีทำ
1 นำกล่องลังมาตัดด้านออก 2
ด้านใช้กาวสองหน้าติดกล้องลังให้เป็นโรงละคร
2. นำกระดาษสีมาติดบนกล่องลังทุกด้าน
3. นำกระดาษแข็งมาตัดเป็นรูปผีเสื้อ
ก้อนเมฆ หญ้า พร้อมตกแต่งให้สวยงาม
4. นำผีเสื้อติดปลายไม้ลูกชิ้น
และตกแต่งโรงละครให้สวยงาม
วิธีเล่น
ใช้ไฟฉายส่องตรงตวผีเสื้อให้เกิดเงาในลักษณะต่างๆ
หลักการทางวิทยาศาสตร์
เงาคืออะไร? เงา (ภาษาอังกฤษคือ Shadow) คือ อาณาเขตหลังวัตถุที่แสงฉายไปกระทบวัตถุนั้น
ไม่สามารถเดินทางไปถึงได้หรือเดินทางไปถึงเพียงบางส่วน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1.เงามืด เป็นอาณาเขตหลังวัตถุ แสงกระทบวัตถุแล้ว จะไปไม่ถึงบริเวณนั้นเลย
2.เงามัว
เป็นอาณาเขตหลังวัตถุ แสงกระทบวัตถุแล้ว จะไปถึงเพียงบางส่วนที่บริเวณนั้น
การประยุกต์ใช้ ( Application)
นำความรู้ที่ได้ไปใช้เป็นหลักการการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กในเรื่องของ จุดศนูย์ถ่วง และเงา
เทคนิคการสอน (Technical Education )
นำความรู้ที่ได้ไปใช้เป็นหลักการการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กในเรื่องของ จุดศนูย์ถ่วง และเงา
เทคนิคการสอน (Technical Education )
- ฝึกให้รู้จักวิธีการจักการสอน
ประเมิน (Evaluation )
ตนเอง (Self ): นำเสนองานที่เตรียมมาอย่างเต็มที่ แต่ติดขัดในเรื่องอุปกรณ์ที่ใช้ในการขึ้น Power point เสียการนำเสนอก็เลยติดขดนิดหน่อย
ตนเอง (Self ): นำเสนองานที่เตรียมมาอย่างเต็มที่ แต่ติดขัดในเรื่องอุปกรณ์ที่ใช้ในการขึ้น Power point เสียการนำเสนอก็เลยติดขดนิดหน่อย
เพื่อน (Friend) สนใจและตั้งใจฟังสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ
อาจารย์ (Teacher) : ให้การประเมินติชมผลงานที่ทำมาเสนอว่ามีข้อดีข้อเสียยังไง แล้วจะค่อยบอกว่าหลักการวิทยาสาสตร์เกี่ยวข้องกบของเล่นรึเปล่าหรือหลักการวิทยาศาสตร์ตรงไนยังผิดอยู่ตรงไหน
อาจารย์ (Teacher) : ให้การประเมินติชมผลงานที่ทำมาเสนอว่ามีข้อดีข้อเสียยังไง แล้วจะค่อยบอกว่าหลักการวิทยาสาสตร์เกี่ยวข้องกบของเล่นรึเปล่าหรือหลักการวิทยาศาสตร์ตรงไนยังผิดอยู่ตรงไหน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น