วันอาทิตย์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2558

** คลิกที่ชื่อเรื่องวิจัยเพื่อดูเล่มจริง**



( Classroom action research to develop science process skills of preschool children. Ban San Pa Sak district, Chiang Mai.)

ชื่อผู้วิจัย : กชพรรณ บุญจา

เสนอ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรปริญญาศึกษามหาบัณฑิต   สาขาวิชาวิจัยและสถิติการศึกษา  
บัณฑิตวิทยาลัยมหาลัยเชียงใหม่   กันยายน 2555

ความเป็นมาและความสำคัญ
ปัญหาสังคมโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลมาจากความสามารถทางสติปัญญาของมนุษย์ทำให้วิทยากันได้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้นสร้างความสะดวกสบายให้กับมนุษย์ในขณะเดียวกันผู้ใช้บริการทางวิทยาศาสตร์และทละยี่คนมีความสามารถในการคิดรู้จักหาแนวทางในการแสวงหาความรู้มีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงรู้จักเลือกรับปรับเปลี่ยนสิ่งต่าง ๆ ให้เหมาะสมและแก้ไขปัญหาด้วยตนเองโดยเฉพาะปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันซึ่งคุณรักษาต่าง ๆ ดังกล่าวควรได้รับการปลูกฝังฝึกฝนตั้งแต่เด็กประถมวัยซึ่งเป็นที่ยอมรับเป็นวัยแห่งการว่างรากฐานของการพัฒนาๆทุกๆด้วน



สิ่งที่สนใจศึกษา
ในการศึกษาวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์ผู้วิจัยได้กำหนดนวัตกรรมและผลที่เกิดกับผู้เรียนดังนี้
1. นวัตกรรม  คือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนที่ได้ใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์เรียนรู้โครงการ
2. ผลที่เกิดกับคูร คือ การใช้ควรการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการ
3. ผลที่เกิดกับผู้เรียน คือ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


วัตถุประสงค์ของการศึกษา
 1. เพื่อศึกษาผลกาใช้วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการเพื่อนำไปสู่การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยปีที่ 2 / 1 โรงเรียนบ้านสันปราสาทอำเภอหางดงจังหวัดเชียงใหม่
2. ศึกษาทักษะการทำวิทยาศาสตร์ของเด็กประถมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการ

ขอบเขตการวิจัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 / 1 โรงเรียนสันป่าสัก  อำเภอ หางดง    จังหวัดเชียงใหม่  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 21 คน
ระยะเวลา
ระยะเวลาในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 8 สัปดาห์ตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม
ถึงวันที่ 9 มีนาคมผู้สละ 2555

นิยามศัพท์เฉพาะ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน   หมายถึง การวิจัยเด้อครูผู้สอนที่เกิดขึ้นพร้อมพร้อมกับการจัดประสบการณ์เรียนรู้ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยครูผู้สอนเป็นผู้วิจัย

ผลการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการ   หมายถึง  ผลการพัฒนาในด้านการจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูตามขั้นตอนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนที่เกิดกับตัวคูรในการธนาตนเองด้านการจัดประสบการณ์เรียนรู้

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงาน  หมายถึง    การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ศึกษาค้นคว้าเรียนรู้จากการกระทำตามความสนใจของตนเองลุ่มลึกเลงที่ความสนใจของเด็กเป็นหลักมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์มีการวางแผนร่วมกันได้ฝึกสังเกตค้นคว้าทดลองปฏิบัติจากแหล่งเรียนรู้ที่รักหลายเพื่อคิดค้นหาคำตอบเรื่องที่สงสัย

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถคิดหาเหตุผลแสวงหาความรู้และแก้ไขปัญหาได้ตามไว้ของเด็กการวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นเฉพาะด้านทักษะการสังเกตทักษะการจำแนกประเภททักษะการแสดงปริมาณทักษะการพยากรณ์และทักษะการสื่อความหมายข้อมูลซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. ทักษะการสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันได้แก่ตาหูจมูกลิ้และกายสัมผัสเข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลของสิ่งนั้นนั้น

2. ทักษะการจำแนกประเภท หมายถึง ความสามารถในการจัดแสดงสิ่งของหรือวัตถุออกเป็นหมวดหมู่โดยการจัดแบ่งเช่นรูปร่าง สี ขนาดเป็นประโยชน์การใช้เป็นต้น

3. ทักษะการแสดงปริมาณ หมายถึง ความสามารถในการนับจานเข้าใจจำนวนการเปรียบเทียบการจัดลำดับและการวัดเพื่อบอกปริมาณของวัตถุ

 4. ทักษะการพยากรณ์ หมายถึง ความสามารถในการทำนายหรือคาดเดาคำตอบล่วงหน้าโดยอาศัยข้อมูลจากการสังเกตหรือข้อมูลที่ได้รับจากการจัดประสบการณ์ที่ทำซ้ำๆทักษะการสื่อความหมายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลที่สังเกตการจัดประเภทการแสดงปริมาณมาจัดการกระทำใหม่โดยมุ่งสื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลชุดนั้นดีขึ้นซึ่งอาจจะกระทำในรูปแบบกราฟตารางแผนผังรูปภาพหรือคำพูด

เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชายหญิงอายุ 5 ถึง 6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 / 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554  โรงเรียนบ้านสันป่าสัก อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 4


ประโยชน์ที่ได้รับจากกันศึกษา
 1. เป็นแนวทางสำหรับคู่ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทิศเต็มตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน
 2. เพื่อนำความรู้ขนาดการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนไปพัฒนาตนเองพัฒนาผู้เรียนให้สามารถจะประสบการณ์อย่างมีประสิทธิภาพได้ด้วยการเรียนรู้อื่นต่อไป
 3. เพื่อให้ครูผู้สอนในระดับประถมวัยได้นำผลจากการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนครั้งนี้ไปเป็นแนวทางการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุงสภาพการเรียนการสอนพัฒนาเด็กในด้านอื่น ๆ ต่อไป

สรุปผลการวิจัย
ทักษะการสังเกต
ผลการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไว้วัดทักษะการสังเกตที่เป็นข้อมูลเชิงปริมานเด็กประถมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการสังเกตหลังจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 89.76 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือร้อยละ 75
ทักษะการจำแนก
ผลการวัดกระบวนการทักษะวิทยาศาสตร์ด้วยวัดทักษะการจำแนกเป็นข้อมูลเชิงปริมาณพบว่าเด็กปฐมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการจำแนกหลังจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 98.60 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือร้อยละ 75
ทักษะการแสดงปริมาณ
ผลการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยเชิงปริมานวัดทักษะการแสดงปริมาณพบว่าเด็กปฐมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการแสดงปริมาณหลังจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 89.00 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 75
 ทักษะการสื่อความหมาย
ผลการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์วัดทักษะการสื่อความหมายพบว่าเด็กปฐมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการสื่ความหมายหลังจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 3.81 สูงกว่าเกณฑ์ที่คไว้คือร้อยละ 75
ทักษะการพยากรณ์

เป็นการฝึกให้เด็กคาดเดาคำตอบจากสถานการณ์หรือการทดลองเด็กส่วนใหญ่สามารถตั้งคำถามเพื่อคาดเดาคำตอบได้และสามารถคาดเดาคำตอบได้อย่างมีเหตุผลผล การวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยวัดทักษะการพยากรณ์พบว่าเด็กปฐมวัยทุกคนมีคะแนนทักษะการพยากรณ์หลังจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โครงการเฉลี่ยร้อยละ 94.29 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือร้อยละ 75



ภาพภนวก




























วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558

** คลิกที่ชื่อเรื่องเพื่อชมโทรทัศน์ครู**


สรุปโทรทัศน์ครู  teachers TV




โรงเรียน  เซนต์แมรี่ที่บริดเจนเป็นโรงเรียนนำร่องสำหรับโครงการพัฒนาการสอน
ระดับปฐมวัย

โดยครู  คุณครูแจ๊คกี เดวีส์


โรงเรียนเซนต์แมรี่ที่บริดเจนเป็นโรงเรียนนำร่องสำหรับโครงการพัฒนาการสอนระดับปฐมวัย ตอนนี้จะไปดูว่าโรงเรียนส่งเสริมการพัฒนาเชิงสร้างสรรค์อย่างไรในชั้นเรียนอนุบาลหนึ่ง คุณครูแจ๊คกี เดวีส์พูดคุยถึงประเด็นที่ว่าครูผู้ช่วยควรทำอย่างไรในการช่วยชี้นำการเรียนรู้ ครูพี่เลี้ยงเฮย์ลีย์ ฮิตชิงส์คอยดูแลกลุ่มเด็กแปดคนกิจกรรมแรกเลยก็จะแจงแผ่นกระดาษโทนสีต่างๆให้เด็กๆแล้วให้เด็กหากิ่งไม้ใบไม้ให้ตรงกับโทนสีที่มีในกระดาษและสำหรับกิจกรรมต่อมาคือกิจกรรมสีของฤดูใบไม้ร่วง จากนั้นก็ให้ลองผสมสีในจานสีให้เป็นสีที่เหมือนกับสีของใบไม้กิ่งไม้ที่เลือกมา  ส่วนกิจกรรม ตามล่าหมีซึ่งทำทั้งในและนอกห้องเรียนโดยเริ่มจากให้เด็กเปิดก่องสมบัติ แล้วเล่านิทานล่าหมีแล้วก็ทำกิจกรรมหาใบไม้ในกล่องทำให้เกิดเสียงแล้วก็ทำกิจกรรมนองห้องเรียนโดยการเล่าเรื่องการล่าหมีแล้วก็เจอกับบ่อโคลนแล้วก็ให้เด็กเหยียบบนดินโคลน เด็ก ๆ ทำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ในห้องเรื่องความคิดสร้างสรรค์จากนิ้วแล้วใช้ครีมซ็อคโกแลต , ซอสช็อคโกแลต , ผงซ็อคโกแลตระเลงบนโต๊ะที่คลุมพลาสติกที่สะอาดแล้วให้เด็กๆชิ้ม กิจกรรมทุกอย่างจะอยู่หัวข้อที่ครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับฤดูใบไม้ร่วง 








งานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2558 
(National Science and Technology Fair 2558.)

อาคารชาเลนเจอร์ ศูนย์การประชุมและแสดงสินค้าอิมแพ็ค เมืองทองธานี






ค ว า ม เ ป็ น ม า
เมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2525 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เป็น"พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย" พร้อมทั้งกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคม เป็น
"วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ"

ในปี พ.ศ. 2527 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัด งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ” 
ขึ้นเป็นครั้งแรก ระหว่างวันที่ 18 - 24 สิงหาคม 2527  โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการต่างๆ จนได้รับความสนใจทั้งจากภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป ทำให้คณะรัฐมนตรีเล็งเห็นความสำคัญ และเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2528 คณะรัฐมนตรีจึงได้อนุมัติให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่วยงานหลักร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งภาครัฐและเอกชนจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทยโดยดำเนินการจัดงาน "สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ" เป็นประจำทุกปี
นอกจากนั้นคณะรัฐมนตรีกำหนดให้วันที่ 19 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันเทคโนโลยีของไทย
 เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย”  และ พระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย
      ด้วยต่อมา การจัดงาน สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติในส่วนกลาง ที่กรุงเทพมหานคร ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการต่างๆทั้งจากภาครัฐ เอกชน เป็นจำนวนมาก รวมทั้งมีการเพิ่มเติมกิจกรรม รูปแบบการจัดงาน ให้มีความยิ่งใหญ่ อีกทั้งได้รับความสนใจจากนักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไปเข้าชมงานเป็นจำนวนมาก  ดังนั้นนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา  กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติจึงได้จัดงาน สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติในส่วนกลาง ที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้ชื่อว่า มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ซึ่งเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของประเทศ




















































บันทึกอนุทินครั้งที่  15



วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(science experiences Management for Early childhood)
อาจารย์ผู้สอน  อ. จินตนา  สุขสำราญ
วัน-เดือน-ปี 24-11-2558
เรียนครั้งที่  15  เวลาเรียน 13.30.- 17.30 น.






ความรู้   ( Knowledge )


นำเสนองานวิจัยและโทรทัศน์ครู

         เลขที่ 15
นำเสนองานวิจัย เรื่อง การจัดการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

         เลขที่ 24
นำเสนองานวิจัย เรื่อง การศึกษาผลของการจัดรูปแบบการจัดการเรียนแบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

         เลขที่ 25
 นำเสนอโทรทัศน์ครู สอนปฐมวัยด้วยธรรมชาติผสานวิถีพุทธ



Adoption การนำไปใช้สามารถนำรูปแบบและวิธีการสอนในวิจัยมาปรับใช้ได้จริง

Teaching Techniques เทคนิคการสอน :  ใช้การตั้งคำถามให้เกิดปัญหาชงนให้คิด


Evaluation ประเมิน
    Self ตนเอง :  ไม่พร้อมเรียนเพราะรู้สึกง่วงนอนมากแต่ก็พยายามตั้งใจฟังในสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ
 Friends เพื่อน :  หน้าดูง่วงนอนแต่ก็ดูพย่าอย่ามตังใจฟังพยายามตอบปัญหาทีครูถาม
    Teacher  อาจารย์ : วันนี้มาสอนช้าเนื่องจากติดภาระกิต  มีการสังเกตสีหน้าและพฤติดกรรมของนักศึกษา มีการใช้คำถามเพื่อกระตุ้นความสนใจ 







วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14



วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(science experiences Management for Early childhood)
อาจารย์ผู้สอน  อ. จินตนา  สุขสำราญ
วัน-เดือน-ปี 17-11-2558
เรียนครั้งที่  14  เวลาเรียน 13.30.- 17.30 น.


ความรู้   ( Knowledge )
ทำ cooking  ของกลุ่ม บัวลอย บลูเบอร์ชีสพาย  ไอศครีม

การทำบัวลอย แบ่งออกเป็น 3 ฐาน

กลุ่มบัวลอย

อุปกรณ์
1.กะทะไฟฟ้า
2.ถ้วย
3.ช้อน
4.กระบวย

วัตถุดิบ
1.แป้งสำหรับทำบัวลอย
2.น้ำตาล
3.กระทิ
4.สีอาหาร
5.น้ำดื่ม

วิธีการสอนทำการทำบัวลอย

         ฐานที่1  ผสมแป้งกับสีผสมอาหารนวดแป้งกับสีให้เข้ากัน





          ฐานที่2  ปั่นแป้งให้เป็นลูกกลมๆเล็กพอประมาณ







          ฐานที่นำแป้งที่ปั่นเรีบยร้อยแล้วใส่ลงไปในกะทะไฟฟ้าที่ต้มน้ำจนเดือด เมื่อแป้งสุกตักแป้งใส่ในน้ำกะทิที่เตรียมไว้














 กลุ่ม บลูเบอร์รี่ชีสพาย

การทำบลูเบอร์รี่ชีสพาย
     
อุปกรณ์ 
1.ตะกร้อตีแป้ง
2.ถ้วย
3.ช้อน
4.ถุงพลาสติก                                   

วัตถุดิบ 
1.ครีมชีส
2.โยเกิร์ต
3.น้ำมะนาว
4.น้ำตาลไอซิ่ง
5.คุกกี้โอริโอ้
6.เนยละลาย
7.แยมบลูเบอรี่
8.เยลลี่
9.ช็อคโกแล็คชิพ

วิธีการสอนทำการทำบลูเบอร์รี่ชีสพาย


       ฐานที่นำโอริโอ้ 2 คู่ครึ่งใส่ถุงทุบให้ละเอียด แล้วใส่เนยที่ละลาย  1 ช้อน  คลุกให้เนยกับโอริโอให้เข้ากัน









       ฐานที่นำครีมชีสมาปรุงรสด้วยโยเกิร์ต น้ำตาลไอซิ่งและน้ำมะนาวเล็กน้อย คนให้เข้ากันจนครีมชีสขึ้นฟูแล้ว ตักใส่แก้ว




       ฐานที่ใส่แยมบลูเบอรี่และตกแต่งให้สวยงามตามใจชอบ







กลุ่ม ไอศครีม 

วิธีการสอนการทำไอศครีม (ทำตามแบบอย่างไปพร้อมๆกัน)

อุปกรณ์ 
1.ตะกร้อตีไข่
2.ถุงซิปล็อก 2 ใบ ขนาดใหญ่และเล็ก
3.จามใส่ส่วนผสม

วัตถุดิบ 
1.นมข้นหวาน                
2.นมจืด                                      
3.วิปปิ้งครีม                                    
4.เกลือ
5.น้ำแข็ง



ขั้นที่1. แนะนำวัตถุดิบและอุปกรณ์ วิธีการทำไอศครีม






ขั้นที่2. แจกวัตถุดิบอุปกรณ์และเทนมจืดกับนมข้นหวานคนให้เข้ากันจากนั้นเติมวิปปิ้งครีมแล้วคนให้เข้ากันเติมเกลือปลายช้อนเล็กน้อยและคนอีกครั้ง












ขั้นที่3. เทส่วนผสมทั้งลงไปในถุงเล็กแล้วปิดปากถุงจนสนิทแล้วตักน้ำแข็งใส่ถุงใหญ่แล้วใส่เกลือเขย่าจนเข้ากัน





ขั้นที่4. นำถุงซิปล็อกที่มีส่วนผสมใส่ไปในถุงใหญ่ปิดปากถุงจนสนิท


ขั้นที่5. เขย่าจนไอศครีมแข็งตัว









Adoption การนำไปใช้
    รู้จักวิธีการสอนคลุกกลิ้งให้เด็กอนุบาลมีเรื่องที่อาจจะไปใช้ได้จริงในการสอนทำคลุกกลิ้ง

Teaching Techniques เทคนิคการสอน
-เทคนิคฝึกการสอนทำคลุกกลิ้ง      
-เทคนิคการสังเกต
-เทคนิดการต้งคำถาม

Evaluation ประเมิน
    Self ตนเอง :   สนุกกับการทำ coking  ได้เรียนรู้วิธีการสอนจากการทำ cooking

    Friends เพื่อน :  มาเรียนทันเวลา เตรียมตัวมาเป็นอย่างดี มีการสนใจในการทำงานร่วมกับเพื่อนเป็นอย่างดีสนุกสนานกับการทำ cooking
    Teacher อาจารย์ :  แนะนำเปิดประเด็นให้มีการคิด ยิ้มแย้มหวเราะกับเด็กเวลาที่ทำอะไรตลกๆ