วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4



                               
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(science experiences Management for Early childhood)
อาจารย์ผู้สอน  อ. จินตนา  สุขสำราญ
วัน-เดือน-ปี 19-08-2558
เรียนครั้งที่  4  เวลาเรียน 13.30.- 17.30 น.




ความรู้ (Knowledge ) 

กิจกรรม : ประดิษฐ์ของเล่นจากกระดาษให้เกี่ยวข้องกับ

วิทยาศาสตร์

     อาจารย์แจกกระดาษ 1 แผ่น ให้นักศึกษาประดิษฐ์ของเล่นเป็นอะไร

ก็ได้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
 

จากนั้นให้นำเสนอเป็นรายบุคคล






จากกระดาษ 1 แผ่น นำมาพับโดยการพับเป็นรูปดาว ดังภาพ







เมื่อพับเสร็จก็นำ หลอด  หรือ ไม่ มาเสียบ กับดาวแล้วนำไฟส่องตรงดาวก็จะเกิดเป็นเงา





-นำเสนออาจารย์ว่าของที่ทำเป็นวิทยาศาสตร์ไรในเรื่องอะไร








สรุป 

               จากกิจกรรมดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ของเล่นดังกล่าวจะทำให้เด็กได้เรียนรู้เรื่อง

วิทยาศาสตร์ใน

เรื่องของ " เงา " คือ เด็กได้เรียนรู้ว่าเงาเกิดจากแสงที่ส่องไปยังวัตถุแต่แสงไม่สามารถ

ผ่านวัตถุไปได้นั้น

ก็จะเกิดเป็นเงาซึ่งแสงจะเดินทางเป็นเส้นตรง


             เงาคืออะไรเงา (ภาษาอังกฤษคือ Shadow) คือ อาณาเขตหลังวัตถุที่แสงฉาย

ไปกระทบวัตถุนั้น

 ไม่สามารถเดินทางไปถึงได้หรือเดินทางไปถึงเพียงบางส่วน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด

1.         เงามืด เป็นอาณาเขตหลังวัตถุ แสงกระทบวัตถุแล้ว จะไปไม่ถึงบริเวณนั้นเลย

2.         เงามัว เป็นอาณาเขตหลังวัตถุ แสงกระทบวัตถุแล้ว จะไปถึงเพียงบางส่วนที่บริเวณนั้น





ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของเด็ก

ทฤษฏีของเพียเจต์ เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง
 5

-
 ขบวนการปรับเข้าสู่โครงสร้าง (Assimilation) หมายถึง การที่เด็กนำเอาความรู้ใหม่ 

เข้าไปผสมผสาน

กลมกลืนกับความรู้เดิมที่มีอยู่

- การจัดประขยายโครงสร้าง (Accommodation)  หมายถึง การนำความรู้ใหม่ที่ได้รับไปปรับปรุงความคิดให็เข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม


John Dewy ได้กล่าวว่าเด็กจะเรียนรู้โดยการลงมือทำ หรือ  "Learning by Doing "

ทักษะ ( Skill)

-
 ทักษะการตอบคำถาม

-
 ทักษะการคิดวิเคราะห์

-
 ทักษะการนำเสนองาน

-
 ทักษะการใช้ความคิดรวบยอด

การประยุกต์ใช้ (
 Application)

นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประดิษฐ์ของเล่นในหน่วยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยและ

ใช้ในการสอน

แบบบูรณาการเพื่อให้เด็กได้รับความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์และด้านอื่นๆ


เทคนิคการสอน (
Technical Education)

- เทคนิคการใช้คำถาม เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด

-
 เทคนิค  ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง

-
 สอนเริ่มจากหลักการและนำมาสรุป


การประเมิน (
Evaluation)

ตนเอง (
 Self) : ตั้งใจเรียน มองเห็นภาพรวมในเนื้อหาชัดเจนขึ้น ปฏิบัติตามคำสั่งของ

อาจารย์ แต่เมือ

เจอคำถามที่กดดันจะไม่กล้าตอบพราะกลัวผิด

เพื่อน (
Friend) :  ตั้งใจเรียน ช่วยกันตอบคำถาม มีการช่วยเหลือกันระหว่างอธิายนำ

เสนองานกับอาจารย์

อาจารย์ (
Teacher) : เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ บรรยายเนื้อหาให้เข้าใจได้ง่าย

ขึ้น
 มีการใช้น้ำเสียง

ที่สูงต่ำกระตุ้นนักศึกษาอยู่ตลอดเวลา มีการถามจี้เวลานักศึกษายังตอบไม่ตรงคำถาม


















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น