วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1





วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(science experiences Management for Early childhood)
อาจารย์ผู้สอน  อ. จินตนา  สุขสำราญ
วัน-เดือน-ปี 19-08-2558
เรียนครั้งที่  2  เวลาเรียน 13.30.- 17.30 น.






ผลการเรียนรู้
(Learning Outcomes)

  1.คุณธรรม จริยธรรม
  2.ความรู้ (Knowledge)
  3.การใช้เทคโนโลยี
  4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
  5.ทักษะทางปัญญา
  6.การจัดการเรียนรู้

3 คำสำคัญสำหรับการจัดการประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเด็กปฐมวัย
(3 Key words for Science Experience Management for Early Childhood
Early Childhood)

        Development --> Intelligence is language and thinking

        Thinking --> Inventive and Logical (Match and Science)

         How to learn -->Learning through all five senses. Eyes : See, Ears : Listen, 
Tongue : Tasted, Nose : smell, Body : Touch



หลักสตรู (Syllabus)
             - เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก (Stories about children)
             - บุคคลและสภาพแวดล้อม (People and the environment)
             - ธรรมชาติรอบตัว
             - สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก

 ทักษะวิทยาศาสตร์ (Science Skills)
             - Observe skill
             - Skill การจำแนกประเภท
             - Meaning skill
             - Skill การลงความเห็นจากข้อมูล
             - Skill ความสัมพันธ์ระหว่างสเปชกับสเปส และ เวลากับเวลา
             - Skill Calculation

การจัดการประสบการณ์ (Experience Management)
             - หลักการจัดประสบการณ์
             - เทคนิคการจัดประสบการณ์
             - กระบวนการจัดประสบการณ์
             - ทฤษฎีการจัดประสบการณ์
             - สื่อและสภาพแวดล้อมสนันสนุนการจัดประสบการณ์
             - การคำนวณ (Evaluation)

เทคนิคการสอน (Techninal Education)

อาจารย์เปิดโอกาสให้ตอบคำถามพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ 
เน้นการใช้คำถามในการกระตุ้นให้เด็กสนใจในสิ่งที่เรียน

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 

ทักษะการตอบคำถาม
ทักษะการคิดหาคำตอบ

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 

สามารถนำความรู้ที่ได้นำไปใช้ในการเรียนการสอน  

ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)

อาจารย์เข้าสอนตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อย










บันทึกอนุทินครั้งที่




วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(science experiences Management for Early childhood)
อาจารย์ผู้สอน  อ. จินตนา  สุขสำราญ
วัน-เดือน-ปี  25-08-2558
เรียนครั้งที่  2  เวลาเรียน 13.30.- 17.30 น.




พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Development)

     

        ความหมาย (Meaning) หมายถึง ความเจริญงอกงามด้านความสามารถทางภาษา (languages) 
และ การคิด (Thinking) ของแต่ละperson พัฒนามาจากการมี Interaction and  Environment

       เริ่มตั้งแต่เกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้รู้จัก "ตน" (Self) เพราะ ตอนแรกเด็กเราไม่

สามารถแยกตนออกEnvironmentได้ 

        การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอด

ทั้งชีวิตให้เกิดEquilibrium

       การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุล

กับสิ่งแวดล้อม

กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ประกอบด้วย 2 ประเภท


กระบวนการดูดซึม (Assimilation)


         เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึบซับหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าใน

โครงสร้างของสติปัญญา โดยจะเป็นการตีความ

กระบวนการปรับโครงสร้าง (Accommodation) 


  หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ใหม่


สรุป

สติปัญญาจึงเกิดจากการปรับความคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล


เทคนิคการสอน (Technical Education)

อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนที่ทันสมัย มีการใช้ Power Point มาช่วยในการสอน

ใช้เทคการถามตอบเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาได้เกิดกระบวนการคิด

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 

-ได้รับทักษะการในการคิดและการตอบคำถาม


การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)

-  สามารถนำความรู้ที่ได้ about Cognitive Development ไปใช้ในการจัดประสบการณ์ให้ตรง

ไปตามพัฒนาการของเด็กปฐมวัย

ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)

-  อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หลายเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการคิดตอบปัญญา










ภาพบรรยากาศการสอน

















วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2558



บทความ science for Early childhood






สรุปบทความ เรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย  

แต่งโดย      มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ 

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีความสำคัญที่จะทำให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและ มีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ขึ้น รวมถึงการนำความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล มีคุณธรรม นอกจากนี้ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ การดูแลรักษาตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน 
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ควรเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนในของเด็กและส่งเสริมการจัดโครงสร้างความคิดจากประสบการณ์ เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์รวมถึงการส่งเสริมทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลและมีความรับผิดชอบที่รักษาสิ่งต่างๆ 



อ้างอิง 
อ้างอิงแผนงาน : - 
อ้างอิงโครงการ : - 

แหล่งที่มาเอกสารอ้างอิง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546